
พื้นฐานการถ่ายภาพที่ควรรู้
ก่อนจะเป็นช่างภาพที่ดีหรือตากล้องที่ดี สิ่งที่ควรจะรู้ก็คือพื้นฐานในการถ่ายภาพว่าควรมีพื้นฐานอะไรยังไงบ้าง ก่อนจะเริ่มถ่ายควรรู้ก่อนว่าการถ่ายภาพที่ดีควรเป็นยังไง เทคนิดการถ่ายภาพให้ออกมาสวยสดุดตาเป็นยังไง หรือแม้แต่การเลือกกล้องเราก็ควรจะรู้ว่ากล้องที่เหมาะกับเราเป็นแบบไหน และการใช้งานกล้องก็เป็นสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยวันนี้แอดจะมาสรุปพื้นฐานในการถ่ายภาพที่ตากล้องมือใหม่อย่างเราๆต้องรู้กันค่ะ โดยสรุปได้ดังนี้ค่ะ
1.การตั้งค่ากล้องถ่ายรูป/เครื่องมือที่ควรรู้ในการถ่าย
Aperture(รูรับแสง)
รูรับแสงคือเครื่องมือสำคัญของการถายภาพ ที่จะทำให้ถาพถ่ายของเราออกมาสวยหรือไม่สวย ซึ่งรู้รับก็เป็นเครื่องมือที่ตากล้องควรรู้จัก และควรรู้วิธีการตั้งค่าของมันว่าต้องตั้งค่ายังไงถึงจะได้รูภาพที่ต้องการ ซึ่งรูรับแสง ทำหน้าที่ในการควบคุมปริมาณแสง ที่บันทึกลงเซ็นเซอร์ภาพหรือสมัยก่อนก็คือฟิมล์นั่นเอง โดยที่รูรัปแสงจะแบบออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ค่ะ
-รูรัปแสงกว้าง:เช่น F2.5,F3.5,F4 ซึ่งรูรับแสงช่วงนี้จะส่งผลต่อความชัดตื้นของภาพ โดยที่รูรับแสงกว้างจะเหมาะกับการถ่ายภาพดังนี้ คือ ภาพที่ต้องการความสว่างเมื่อแสงเข้าภาพจะสว่าง,หน้าชัดหลังเบลอ,ภาพที่เน้นการถ่ายคนและละลายหลัง,และรูรับแสงช่วงนี้จะถ่ายในที่แสงน้อยได้ดีค่ะ
-รูรับแสงแคบ:เช่นF11,F15,F22 ซึ่งรูรับแสงแคบจะส่งผลต่อความชัดลึกของภาพ โดยที่รูรับแสงแคบจะเหมาะกับการถ่ายภาพดังนี้ คือ ภาพที่ต้องการความชัดเจนทั้งภาพ,ภาพถ่ายวิว,ภาพถ่ายที่แสงน้อย
ISO – ความไวแสง
ISO คือ ความไวแสงที่กล้องมี โดยถ้าหากว่าสภาพแวดล้อมที่เราถ่ายรูปมีแสงเยอะเราก็เปิดisoน้อยๆ เพราะว่าแสงมีเยอะอยู่แล้วเราก็ไม่จำเป็นที่ต้องใช้ความไวแสงที่เยอะ ส่วนถ้าหากว่าสภาพแวดล้อมที่เราถ่ายมี่แสงน้อยก็ควรตั้งค่าisoเยอะๆ เพื่อให้ภาพนั้นมีแสงเข้ามาเยอะๆนั่นเองค่ะ
ดังนั้นการตั้งค่าisoเราควรคำนึงถึงสภาพแวดล้อมที่เราถ่ายเป็นหลัก ว่าสภาพแวดล้อมตรงนั้นมีปริมาณแสงมากหรือน้อย
ISO ต่ำ :เหมาะกับการถ่ายภาพที่มีแสงสว่างเยอะ อย่างเช่นการถ่ายภาพในสถานการณ์ดังต่อไปนี้
-การถ่ายภาพกลาง อย่างเช่น ถ่ายภาพนักวิ่งที่กำลังวิ่งอยู่ในสนาม,ถ่ายภาพคนวิ่งเล่นริมชายหาดในเวลากลางวัน
-การถ่ายภาพในพื้นที่ ที่มีแสงสว่างเพียงพออยู่แล้ว
**ข้อดีของการตั้งisoต่ำๆก็คือภาพภาพที่ได้จะออกมาแบบเนียนๆค่ะ
ISO สูง :เหมาะกับการถ่ายภาพที่มีแสงสว่างน้อยๆ อย่างเช่นการถ่ายภาพในสถานการณ์ต่อไปนี้
-การถ่ายภาพในช่วงกลางคืน
-การถ่ายภาพในตัวอาคาร ที่ไม่มีแสงสว่างจากภายนอก
**ข้อเสียของisoสูงๆคืออาจจะทำให้รูปภาพที่ได้มีnoiseสูงค่ะ
Focal Length – ทางยาวโฟกัส
ทางยาวโฟกัส หรือพูดง่ายๆก็คือการเลือกใช้เลนส์นั่นเองค่ะ โดยที่เลนส์หรือทางยาวโฟกัสจะมีการแบ่งเป็นระยะค่ะ โดยแบ่งได้เป็น3ระยะดังนี้ค่ะ
1. มุมกว้าง ระยะประมาณ 50mm ลงมาค่ะ ส่วนใหญ่ปัจจุบันเลนส์กว้าง
2. ระยะ Normal ระยะ 50mm ครับ เป็นช่วงระยะประมาณสายตา ถ่ายง่าย
3. ระยะ Telephoto คือเลนส์ที่มีช่วงซูมมาก ๆ เหมาะกับการถ่ายดึงภาพไกล ๆ อย่างทิวทัศน์เน้นมุมแคบ ดึงภาพจากภูเขามาได้เลย หรือว่าถ่ายภาพบุคคลที่เน้น
ระยะเลนส์ที่เหมาะสมนั้นอยู่
WHITE BALANCE
White Balance จะคอยทำหน้าที่ควบคุมให้สี
ประโยชน์ของ White Balance คืออะไร
อย่างที่บอกว่าเมื่อกล้องรู้
ค่าของ White Balance มีอะไรบ้าง และ หมายถึงอะไร?
ค่าของ White Balance โดยหลักแล้วจะมีอยู่ 8 อย่างด้วยกันครับ ไม่ต้องจำทั้งหมดนะครับ ให้เข้าใจว่ากล้องมีโหมดอะไร
Auto – กล้องคิดให้จะเป็นการปรับค่ะ
Tungsten – แก้สีส้มในภาพโดยใส่สีน้ำเงิน
Fluorescent – แก้สีน้ำเงิน สีเขียวในภาพ โดยใส่สีม่วงลงไป
Daylight – แก้สีฟ้าอ่อน ซึ่งจะเป็นสีที่เกิดจากดวงอาทิตย์
Flash – แก้สีฟ้าอ่อน คล้ายกับ Daylight โดยใส่สีส้ม สีเหลืองเข้าไป
Cloudy – แก้สีฟ้า ที่เกิดจากการมีเมฆ จะมีสีฟ้ามากกว่าปกติ กล้องก็ใส่สีส้มเข้าไป
Shade – แก้สีฟ้า ที่เกิดจากการถ่ายภาพในร่ม ซึ่งอาจจะมีสีฟ้ามากกว่าปกติ
Custom – เลือกปรับเติมสีของ White Balance เอง ในกรณีที่เราเลือกปรับค่า White Balance แล้วแต่สีก็ยังออกมาไม่ตรง
COMPOSITION
กฎสามส่วน
เราจะเห็นได้ว่าในช่องมองภาพ
วิธีแรกที่จะใช้ก่อนเลยคือ กฎสามส่วน วิธีนี้มักจะใช้แบ่งสัดส่วน
จากนั้นเราจะสร้างจุดสนใจให้